สำนักงานที่ปรึกษากฎหมายและทนายความ บริษัท ทศธรรม จำกัด : lawtst.com

กรณีบริษัทจำกัดจำเป็นต้องจัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้น

กรณีบริษัทจำกัดจำเป็นต้องจัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อนำมติที่ประชุมนั้นไปใช้ประกอบในการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงรายการทางทะเบียน ต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า บริษัทจะต้องดำเนินการอย่างไร ?

กรณีบริษัทจำกัดจำเป็นต้องจัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้น Read More »

สำนักงานที่ปรึกษากฎหมายและทนายความ บริษัท ทศธรรม จำกัด : lawtst.com

การออกเสนอขายหุ้นในราคาสูงกว่ามูลค่าของหุ้นที่ตราไว้ (ราคาพาร์)

บริษัทจำกัดจะเพิ่มทุน โดยการออกเสนอขายหุ้นในราคาสูงกว่ามูลค่าของหุ้นที่ตราไว้ (ราคาพาร์) ได้ หรือไม่ อย่างไร ?

การออกเสนอขายหุ้นในราคาสูงกว่ามูลค่าของหุ้นที่ตราไว้ (ราคาพาร์) Read More »

สำนักงานที่ปรึกษากฎหมายและทนายความ บริษัท ทศธรรม จำกัด : lawtst.com

กรรมการผู้มีอำนาจลงนามของบริษัทจำกัดเสียชีวิต

กรณีบริษัทจำกัดมีกรรมการ 3 คน แต่มีกรรมการผู้มีอำนาจลงนามเพียงคนเดียว ถ้ากรรมการผู้มีอำนาจลงนามได้เสียชีวิต ส่วนกรรมการที่เหลือมีชื่อเป็นกรรมการแต่ในนาม ไม่ได้เข้ามาบริหารงานของบริษัทตั้งแต่แรก หากผู้ถือหุ้นต้องการที่จะจัดประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อมีมติให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงกรรมการ (เข้า /ออก) และอำนาจกรรมการของบริษัทจะทำได้ หรือไม่ อย่างไร ?

กรรมการผู้มีอำนาจลงนามของบริษัทจำกัดเสียชีวิต Read More »

สำนักงานที่ปรึกษากฎหมายและทนายความ บริษัท ทศธรรม จำกัด : lawtst.com

คนต่างด้าวมีสัดส่วนจำนวนกรรมการ และมีอำนาจร่วมลงนามผูกพันบริษัท มากกว่าคนสัญชาติไทยทำได้หรือไม่

กรณีบริษัทจำกัด สัญชาติไทย ซึ่งประกอบด้วยผู้ถือหุ้น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้ถือหุ้นสัญชาติไทย ถือหุ้นสัดส่วนร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน และกลุ่มผู้ถือหุ้นคนต่างด้าว ถือหุ้นสัดส่วนร้อยละ 49 ของทุนจดทะเบียน หากบริษัทจะกำหนดให้คนต่างด้าวมีสัดส่วนจำนวนกรรมการ และกำหนดรายชื่อกรรมการผู้มีอำนาจร่วมลงนามผูกพันบริษัท มากกว่าคนสัญชาติไทยทำได้ หรือไม่ อย่างไร ?

คนต่างด้าวมีสัดส่วนจำนวนกรรมการ และมีอำนาจร่วมลงนามผูกพันบริษัท มากกว่าคนสัญชาติไทยทำได้หรือไม่ Read More »

สำนักงานที่ปรึกษากฎหมายและทนายความ บริษัท ทศธรรม จำกัด : lawtst.com

หากกรรมการของบริษัทจำกัดคนใดประสงค์ที่จะลาออกจากตำแหน่งกรรมการ

กรณีบริษัทจำกัดมีกรรมการ 3 คน โดยอำนาจกรรมการกำหนดให้ “กรรมการสองคนลงลายมือชื่อร่วมกันและประทับตราสำคัญของบริษัท” ต่อมามีกรรมการท่านหนึ่ง ยื่นหนังสือขอลาออกจากตำแหน่ง พร้อมกับแจ้งไปยังบริษัททราบโดยชอบแล้ว แต่บริษัทไม่ดำเนินการยื่นจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงกรรมการออกให้ กรรมการที่ลาออกสามารถทำอะไรได้บ้าง หรือไม่ อย่างไร ?

หากกรรมการของบริษัทจำกัดคนใดประสงค์ที่จะลาออกจากตำแหน่งกรรมการ Read More »

สำนักงานที่ปรึกษากฎหมายและทนายความ บริษัท ทศธรรม จำกัด : lawtst.com

มติที่ประชุมกรณีกรรมการของบริษัทจำกัดลาออก และเป็นกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม

กรณีที่กรรมการของบริษัทจำกัดลาออก และเป็นกรรมการผู้มีอำนาจลงนามด้วย หากบริษัทไม่มีข้อบังคับกำหนดให้คณะกรรมการสามารถแก้ไขอำนาจกรรมการได้ ในการแต่งตั้งกรรมการใหม่แทนกรรมการที่ลาออก และแก้ไขอำนาจกรรมการดังกล่าว บริษัทจะใช้มติที่ประชุมคณะกรรมการ และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นทั้ง 2 มติ เพื่อใช้อ้างอิงประกอบการจดทะเบียนต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้าได้ หรือไม่ อย่างไร ?

มติที่ประชุมกรณีกรรมการของบริษัทจำกัดลาออก และเป็นกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม Read More »

สำนักงานที่ปรึกษากฎหมายและทนายความ บริษัท ทศธรรม จำกัด : lawtst.com

การจำหน่ายหนี้สูญของลูกหนี้มีจำนวนเกิน 2,000,000 บาท

กรณีบริษัทเป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาในคดีแพ่ง และหนี้ของลูกหนี้มีจำนวนเกิน 2,000,000 บาท แต่จากการสืบทรัพย์ไม่พบว่าลูกหนี้มีทรัพย์สินให้ยึดบังคับคดีเพื่อนำเงินมาชำระหนี้ได้ หากบริษัทต้องการจำหน่ายหนี้สูญลูกหนี้ดังกล่าวตามประมวลรัษฎากร จะมีวิธีดำเนินการ อย่างใด ได้บ้าง อย่างไร ?

การจำหน่ายหนี้สูญของลูกหนี้มีจำนวนเกิน 2,000,000 บาท Read More »

สำนักงานที่ปรึกษากฎหมายและทนายความ บริษัท ทศธรรม จำกัด : lawtst.com

กรรมการของบริษัทมหาชนจำกัดยื่นใบลาออก

กรณีกรรมการของบริษัทมหาชนจำกัดยื่นใบลาออก บริษัทและกรรมการมีหน้าที่ต้องดำเนินการอะไร หรือไม่ อย่างไร ?

กรรมการของบริษัทมหาชนจำกัดยื่นใบลาออก Read More »

สำนักงานที่ปรึกษากฎหมายและทนายความ บริษัท ทศธรรม จำกัด : lawtst.com

กรรมการของบริษัทจำกัดยื่นใบลาออก

กรณีกรรมการของบริษัทจำกัดยื่นใบลาออก บริษัทและกรรมการมีหน้าที่ต้องดำเนินการอะไร หรือไม่ อย่างไร ?

กรรมการของบริษัทจำกัดยื่นใบลาออก Read More »

สำนักงานที่ปรึกษากฎหมายและทนายความ บริษัท ทศธรรม จำกัด : lawtst.com

เรียกเก็บเงินค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา สาธารณูปโภค

กรณีผู้จัดสรรที่ดิน ซึ่งได้รับอนุญาตจัดสรรที่ดินในโครงการเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2540 ตาม ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 286 จะสามารถเรียกเก็บเงินค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา สาธารณูปโภค และบริการสาธารณะจากผู้ซื้อ…

เรียกเก็บเงินค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา สาธารณูปโภค Read More »

Scroll to Top